เตย
ชื่ออื่น : ปาแนะวองิง (มาเลเซีย-นราธิวาส) ใบส้มม่า (ระนอง), ส้มตะเลงเครง (ตาก), ส้มปู (แม่ฮ่องสอน), ส้มพอดี ผักเก็งเค็ง (ภาคเหนือ)
ใบเตย สมุนไพรที่อยู่คู่กับสังคมไทยมานาน ทั้งยังหาง่าย พบได้ทั่วไป ในใบเตยมีกลิ่นหอมของน้ำมันระเหย ใช้ประกอบอาหารและขนมไทยหลากหลายชนิด ใบเตยยังอุดมไปด้วยวิตามินซี เบต้าแคโรทีน วิตามินบี แคลเซียม และ ฟอสฟอรัส
สรรพคุณเตยหอม
• ช่วยบำรุงหัวใจ ทำให้หัวใจชุ่มชื่น เป็นยาบำรุงกำลัง แก้อาการอ่อนเพลีย
• ลดอาการปวดศีรษะ วิงเวียน
• ลดความดันโลหิตสูง ทำให้หัวใจเต้นช้าลง
• ส่วนรากช่วยลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือด ดีสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
• ป้องกันการแข็งตัวของเลือด
• เป็นยาขับปัสสาวะ
• ใช้รักษาโรคหืด และอาการเจ็บคอ
• ลดอาการไข้ และอาการอาหารไม่ย่อย
เริ่มต้น: ถาม-ตอบทั่วไปเกี่ยวสมุนไพร
พืชและสมุนไพร
ใบย่านาง (Tiliacora Triandra)
เชียงดา (Gymnema Sylvestre)
ดอกเก็กฮวย (Dendranthema Grandiflora)
ดอกสายน้ำผึ้ง (Lonicera)
ใบเตย (Pandanus Amaryllifolius)
ใบบัวบก (Centella Asiatica)
ฟักข้าว (Momordica Cochinchinensis)
ว่านรางจืด (Thumbergia Laurifolia Lindl.)
สมอไทย (Terminalia Chebula)
หญ้าปักกิ่ง (Murdannia Loriformis)
หญ้าหวาน (Stevia Rebaudiana Bertoni)
น้ำด่างอัลคาไลน์ (Alkaline Water)
เพิ่มเติม: รอบๆ บ้าน: อาหารที่กินดี มีประโยชน์
กล้วยน้ำว้า
มะละกอ
ว่านหางจระเข้
ส้มโอ